วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

  ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 เทคโนโลยีสารสนเทศจำแนกตามลัษณะการใช้งานได้ 6 แบบต่อไปนี้
1.เทคโนโนลีที่ใช้ในการเก็บข้อมูล เช่น ดาวเทียม ภาพถ่ายทางอากาศ กล้องดิจิตอล ภาพถ้ายวีดีทัศน์ เครื่องเอ็กซเรย์
2.เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล เป็นสื่อบันทึกต่างๆ เช่น เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็ก จานแสงหรือจานเเซอร์ บัติเอทีเอ็ม
3.เทคโนโลยีที่ใช้ประมวลผลข้อมูล ได้แก่ เทคโนโลยี่คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟท์แวร์
4.เทคโนโลยี่ที่ใช้ประมวลข้อมูล เช่น เครื่องพิมพ์ จอภาพ พล็อตเตอร์
5.เทคโนโลยีที่ใช้ทำสำเนาเอกสาร เช่น เครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องถ่ายไมโครฟิล์ม
6.เทคโนโลยีสำหรับถ่ายทอดหรือสื่อสารข้อมูล ได้แก่ ระบบโทรคมนาคม เช่นโทรทัศน์ วิทยุกระจายเสียง โทรเลข  เทเล็กซ์ และรบบคอมพิวเตอร์ทั้งทางใกล้และระยะไกล
  ตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 มีการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศ ดังตัวอย่างเช่น
-ระบบเอทีเอ็ม
-การบริหารและการทำธุรกรรมบนอินเตอร์เน็ต
-การลงทะเบียนเรียน
พฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 การแสดงออกทางความคิดและความรู้สึกในการใช้รูปแบบของเทคโนโลยีทุกรูปแบบ ที่นำมาประยุต์ใช้กระบวนการจัดหา จัดเก็บ สร้าง เยแพร่สารสนเทศรูปแบบต่างๆ ได้แก่ ภาพ ข้อความ ตัวอักษร ตัวเลข เป็นต้น
 การใช้อินเตอร์เน็ต
  นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง เนื่องจากเห็นว่ามีความสะดวกในการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในขณะที่การใช้อินเตอร์เน็ตของนักศึกษาในอุดมศึกษา
 ใช้อินเตอร์เตอร์เน็ตทำอะไรบ้าง?
   งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาส่วนใหญ่ใช้คอมพิวเตอร์ที่บ้าน และมีการใช้อินเตอร์เน็ตที่ห้องสมุดของสถาบัน
นักศึกษาส่วนใหญ่ส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการใช้หรือมีการใช้เทคโนโลยีน้อยในรูปแบบใดบ้าง?
   งานวิจัยชี้ว่า นักศึกษาใช้เทคดนโลยีสารสนเทศน้อย ได้แก่ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือe-learning วิดีทัศน์ตามอัธยาศัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ และบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
-การเรียนรู้แบบออนไลน์
-บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer Assistwd Intruction)
-วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย(Vidio On Demand-VOD)
-หนังสืออิเล็กทรอนิกส์(e-Books)
-ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์(e-Library)
 การเรียนรู้แบบออนไลน์(e-Learning)
 เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่้ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต หรืออินทราเน็ต เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ตามความสนใจและความสามารถของตนเอง โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่านบราวเซอร์ โยผู้เรียน ผุ้สอนและเพื่อนร่วมชั้นเรียนทึกคน สามารถติดต่อปรึกษาแลกเปลี่้ยนความคิดเห็นเช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ
  โดยอาศัยเครื่องมือติดต่อสื่อสารที่ทันสมัยสำหรับทุกคน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่
  การประยุต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับการเรียนการสอน
-บทเรียคอมพิวเตอร์ช่วยสอน คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ ซึ่งนำเสนอสารสนเทศที่ได้ผ่านกระบวนการสร้างและพิจารณาอย่างดี โดยมีเนื้อหาวิชาหรือสารสนเทศ แบบฝึกหัด การทดสอบและการให้ข้อมูลป้อนกลับให้ผุ้เรียนตอบสนองต่อบทเรียนได้ตามระดับความสามารถของตนเอง
-โดยอาศัยพฤติกรรมการเรียนรู้(Learning Behavior) ทฤษฎีการเสริมแรง(Reinforment Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไขการปฏิบัติ(Coperant Conditioning Theory) ซึ่งถือว่าความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนองและการเสริมแรงเป็นสิ่งสำคัญ โดยมีจุดมุ่งหมายนำผู้เรียนไปสู่การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งอาศัยการสอนที่มีการวางดปรแกรมไว้ล่วงหน้า เป็นการทำให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนรู้ได้ด้วยตนเองและมีผลย้อนหลัง
-วีดีทัศน์ตามอัธยาศัย(Vidio On Demand-VOD) คือ ระบบการเรียกดูภาพยนตร์ตามสิ่งที่จะอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งานสามารถเลือกดูภาพยนตร์หรือข้อมูลภาพเคลื่อนไหวพร้อมเสียงได้ตามต้องการ ตามสโลแกนที่ว่า"To view what one want when one want" โดยสามารถใช้งานนี้ได้จากเครือข่ายสื่อสาร ผู้ใช้งานซึ่งอยู่ในเครื่องลูกข่ายสามารถเรียกดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหวตามต้องการและสามารถควบคุมได้
-หนังสื่ออิเล็กทรอนิกส์(e-Books) หนังสือที่สามรถอ่านได้ทางอินเตอร์เน็ต โดยมีเครื่องมือที่จำเป็นในการอ่านหนังสื่อนี่คือฮาร์ดแวร์ เครื่องคอมพิวเตอร์พกพา พร้อมติดตั้งระบบปฏิบัติการหรือซอฟท์แวร์ที่ใช้อ่านข้อความต่างๆ เช่น ออแกไนเซอร์
 ส่วนการดึงข้อมูลที่e-Books ซึ่งจะอยู่บนเว็บไซต์ที่ให้บริการด้านนี้มาอ่านก็จะใช้วิธีดาวโหลดทางอินเตอร์เน็ตเป็นส่วนใหญ่ ลักษณะไฟล์e-Books หากนักเขียนหรือสำนักพิมพ์ต้องการสร้างe-Books สามารถเลือกได้4รูปแบบคือHTML PTF PML
-ห้องสมุดดิจิตอล(e-Library) เป็นแหล่งเรียนรู้ที่บันทึกเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์หรือเครือข่ยผ่านอินเตอร์เน็ต
  คุณลักษณะสำคัญของe-Library ดังนี้ คือ
1.การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศด้วยคอมพิวเตอร์
2.ความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศโดยดิเล็กทรอนิกส์
3.บรรณารักษ์หรือบุคลากรห้องสมุดสามารถแทรกการติดต่อระหว่าผู้ใช้กับห้องสมุด
4.ความสามารถในการจัดเก็บและรวบรวมสารสนเทศผู้ใช้ทางอิเล็กทรอนิกส์
 




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น